คำอธิบายรายวิชา
รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ 3 (ฟิสิกส์) รหัสวิชา ว33101 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เวลา 20 ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน 0.5 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 1
…………………………………………………………………………………………………………………
ศึกษาอธิบายเปรียบเทียบการนำไปใช้การสะท้อนการหักเห การเลี้ยวเบนการรวมคลื่นความถี่ธรรมชาติการสั่นพ้องผลที่เกิดขึ้นจากการสั่นพ้องการสะท้อน การหักเห การเลี้ยวเบน และการรวมคลื่นของคลื่นเสียงความสัมพัน บีตดอปเพลอร์ และการสั่นพ้องของเสียงการนำความรู้เกี่ยวกับเสียงไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันการมองเห็นสีของวัตถุและความผิดปกติในการมองเห็นสีการทำงานของแผ่นกรองแสงสีการผสมแสงสีการผสมสารสีการนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าส่วนประกอบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหลักการทำงานของอุปกรณ์บางชนิดที่อาศัยคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้าการสื่อสารโดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในการส่งผ่านสารสนเทศการสื่อสารด้วยสัญญาณ แอนะล็อกกับสัญญาณดิจิทัลความรู้และทักษะจากวิทยาศาสตร์ ต่าง ๆ รวมทั้งทรัพยากร ในการทำโครงงาน เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ
เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน มีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ มี คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ อยู่อย่างพอเพียง ซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ
ตัวชี้วัด
ว 2.3 ม.5/1 , ม.5/2 , ม.5/3 , ม.5/4 , ม.5/5 , ม.5/6 , ม.5/7 , ม.5/8 , ม.5/9 , ม.5/10
ม.5/11 , ม.5/12
รวมทั้งหมด 12 ตัวชี้วัด
คำอธิบายรายวิชา
รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ 3 (ฟิสิกส์) รหัสวิชา ว33101 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เวลา 20 ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน 0.5 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 1
…………………………………………………………………………………………………………………
ศึกษาอธิบายเปรียบเทียบการนำไปใช้การสะท้อนการหักเห การเลี้ยวเบนการรวมคลื่นความถี่ธรรมชาติการสั่นพ้องผลที่เกิดขึ้นจากการสั่นพ้องการสะท้อน การหักเห การเลี้ยวเบน และการรวมคลื่นของคลื่นเสียงความสัมพัน บีตดอปเพลอร์ และการสั่นพ้องของเสียงการนำความรู้เกี่ยวกับเสียงไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันการมองเห็นสีของวัตถุและความผิดปกติในการมองเห็นสีการทำงานของแผ่นกรองแสงสีการผสมแสงสีการผสมสารสีการนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าส่วนประกอบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหลักการทำงานของอุปกรณ์บางชนิดที่อาศัยคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้าการสื่อสารโดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในการส่งผ่านสารสนเทศการสื่อสารด้วยสัญญาณ แอนะล็อกกับสัญญาณดิจิทัลความรู้และทักษะจากวิทยาศาสตร์ ต่าง ๆ รวมทั้งทรัพยากร ในการทำโครงงาน เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ
เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน มีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ มี คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ อยู่อย่างพอเพียง ซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ
ตัวชี้วัด
ว 2.3 ม.5/1 , ม.5/2 , ม.5/3 , ม.5/4 , ม.5/5 , ม.5/6 , ม.5/7 , ม.5/8 , ม.5/9 , ม.5/10
ม.5/11 , ม.5/12
รวมทั้งหมด 12 ตัวชี้วัด